หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิตทางสังคมศาสตร์ สาขาศึกษาศาสตร์ วิชาเอกเทคโนโลยีการศึกษา
การศึกษา :
-ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต (ค.ด.) สาขาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
-ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม) สาขาเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
-นิเทศศาสตรบัณฑิต (นศ.บ.) สาขาการสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
-ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาการถ่ายภาพและภาพยนตร์ วิทยาเขตเทคนิคกรุงเทพ
ประสบการณ์ :
-ผู้อำนวยการศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง
-หัวหน้าฝ่ายวิจัยและพัฒนาสื่อการศึกษา ศูนย์นวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
-หัวหน้าฝ่ายผลิตสื่อคอมพิวเตอร์ โครงการการศึกษาไร้พรมแดน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
-นักเทคโนโลยีการศึกษา โครงการการศึกษาไร้พรมแดน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
-นักวิชาการโสตทัศนศึกษา สำนักเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
- นวัตกรรมเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา e-Learning , e-Training
ผลงาน :
-ที่ปรึกษาโครงการพัฒนาระบบสร้างสื่อการสอนอัจฉริยะแบบส่งเสริมทักษะการคิดขั้นสูงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (Smart Educational Media Creator: SEMC) รายละเอียด
:: เว็บไซต์และประวัติผลงานเพิ่มเติม ::
ผลงานทางวิชาการ :
ตำรา หนังสือ :
-ศยามน อินสะอาด. (2561). เคล็ดลับการออกแบบ e-Learning สำหรับนักออกแบบและผู้สอน. บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด (มหาชน). รายละเอียด
-ศยามน อินสะอาด. (2561). การออกแบบบทเรียน e-Learning เพื่อพัฒนาทักษะการคิดขั้นสูง. บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด (มหาชน). รายละเอียด
-ศยามน อินสะอาด. (2558). เกมและสถานการณ์จำลองเพื่อการศึกษา. สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
-ตวงแสง ณ นคร และ ศยามน อินสะอาด. (2558). การใช้สื่อการเรียนรู้. สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
วิจัย :
- ศยามน อินสะอาด. (2565). การพัฒนาไมโครเลิร์นนิงแบบเกมเพื่อการเรียนเชิงรุกแบบออนไลน์สำหรับนักศึกษาวิชาชีพครู. วารสารเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. ปีที่ 17 ฉบับที่ 23 เดือนกรกฎาคม-ธันวาคม 2565.
- ศยามน อินสะอาด. (2564). การออกแบบไมโครเลิร์นนิงยุคดิจิทัล. วารสารเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
ปีที่ 16 ฉบับที่ 20 เดือนมกราคม-มิถุนายน 2564. หน้า 16-31.รายละเอียด
- ศิริลักษณ์ บุญมาพันธ์ ศยามน อินสะอาด และสุพจน์ อิงอาจ. (2564). การพัฒนาบทเรียนไมโครเลิร์นนิงบนเครือข่ายสังคมออนไลน์ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์เพื่อส่งเสริมการคิดวิเคราะห์สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6. วารสารเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. ปีที่ 16 ฉบับที่ 21 เดือนกรกฎาคม –ธันวาคม 2564. หน้า 65-78.
-Insaard S. (2018). A Development of Creativity Via Learning Process on Visual and Spatial Intelligence in Computer Science Course of Grade 4-6 Students. Proceedings of Academics World 81st International Conference, Cairo, Egypt, 12-13 June 2018. pp.22-26. รายละเอียด
- Insa-ard, S. (2018). The 21st Century Instruction: The Relationship Between Learning Style and Media Using. ICEPS2018 Proceedings, 5th International Conference on Education and Psychological Sciences, Seoul, South Korea, January 27-29, 2018. pp.17-21. รายละเอียด
วิชาที่รับผิดชอบ :
ปริญญาตรี : ECT3503 ECT2502 ECT3110 ECT3702
ปริญญาโท : ECT6104 ECT 6703 ECT6701
การใช้คำสั่ง Anchor
ขนาดตัวอักษร | ตาราง | นำไฟล์ PDF มาโชว์ |
ขนาดตัวอักษร
ขนาดตัวอักษรปกติ ขนาด 16 โดยขนาดตัวอักษร Preset มี 6 แบบ ดังนี้
Heading 1
ข้อความคำอธิบายตัวอย่าง ขนาดตัวอักษรปกติ ขนาด 16
Heading 2
ข้อความคำอธิบายตัวอย่าง ขนาดตัวอักษรปกติ ขนาด 16
Heading 3
ข้อความคำอธิบายตัวอย่าง ขนาดตัวอักษรปกติ ขนาด 16
Heading 4
ข้อความคำอธิบายตัวอย่าง ขนาดตัวอักษรปกติ ขนาด 16
Heading 5
ข้อความคำอธิบายตัวอย่าง ขนาดตัวอักษรปกติ ขนาด 16
Heading 6
ข้อความคำอธิบายตัวอย่าง ขนาดตัวอักษรปกติ ขนาด 16
ตารางที่สร้างในบทความ
ตาราง |
||
ข้อมูล 1 | ข้อมูล 2 | ข้อมูล 3 |
ดีมาก | ดีเยี่ยม | ดี |
ดี | ดีมาก | ดีมาก |
การใช้ Module Wrapper และเรียกมาแสดงผลโดยวางโค้ด {loadmoduleid xxx}
ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง
282 ถนนรามคำแหง หัวหมาก บางกะปิ กรุงเทพมหานคร 10240.
หมายเลขโทรศัพท์ : 0-2310-8319, หมายเลขโทรสาร 0-2310-80319
e-mail :
ประวัติภาควิชา
ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา เดิมใช้ชื่อว่า ภาควิชาโสตทัศนศึกษา (เปลี่ยนชื่อเป็นภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา เมื่อ พ.ศ. 2543) จัดตั้งขึ้นในปี พ.ศ.2514 สังกัดคณะศึกษาศาสตร์ ปี พ.ศ.2514 ซึ่งเป็นระยะเริ่มแรก เป็นระยะของการเตรียมงานด้านหลักสูตรและเครื่องมือ คณาจารย์ของภาควิชา ฯ เป็นผู้ปฏิบัติงานบริการทาง โสตทัศนศึกษา ให้คณาจารย์คณะศึกษาศาสตร์ และกิจกรรมของมหาวิทยาลัยปี พ.ศ.2516 เริ่มเปิดสอนวิชาโสตทัศนศึกษาเบี้องต้น (ED 323) เป็นวิชาบังคับ สำหรับนักศึกษาที่เลือกเรียนสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ (ต่อมาเปลี่ยนรหัสวิชาเป็น AV 303) และวิชาเลือกอีก 3 กระบวนวิชา คือ การผลิตวัสดุกราฟิก (AV 313) การใช้สื่อการสอน (AV 353) และ การผลิตภาพถ่ายเพื่อการศึกษา (AV 328) ปี พ.ศ. 2516 –2517 ภาควิชา ฯ ได้เปิดสอนหลักสูตรวิชาโทขึ้น เพื่อให้นักศึกษาที่เรียนวิชาเอกสาขาวิชาอื่นและมีความสนใจที่จะเรียนสาขาวิชาโสตทัศนศึกษาเป็นวิชาโท
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2521 ได้เปิดสอนวิชาเอกโสตทัศนศึกษา สำหรับนักศึกษาที่สนใจและต้องการศึกษา สามารถเลือกเรียนหลักสูตรศึกษาศาสตร์บัณฑิต วิชาเอกโสตทัศนศึกษาได้ ปี พ.ศ.2535 เปิดสอนระดับปริญญาโท หลักสูตรศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา ปี พ.ศ. 2542 เปิดสอนหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิตทางสังคมศาสตร์ สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา
ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา ได้ปรับปรุงหลักสูตรระดับปริญญาตรี และเปลี่ยนชื่อหลักสูตรโสตทัศนศึกษา เป็น หลักสูตรเทคโนโลยีการศึกษา เริ่มใช้ใน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2544 เป็นต้นมา (เปลี่ยนชื่อรหัสวิชา จาก AV เป็น ET)
หลักสูตรที่เปิดสอนในปัจจุบัน
- ระดับปริญญาตรี หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต วิชาเอกเทคโนโลยีดิจิทัลและนวัตกรรมการเรียนรู้
- ระดับปริญญาโท หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชาเทคโนโลยีดิจิทัลและนวัตกรรมการเรียนรู้ แบบ 2 แผนการศึกษา คือ แผน ก สำหรับนักศึกษาส่วนกลางทำวิทยานิพนธ์ (Thesis) และแผน ข สำหรับนักศึกษาส่วนกลางทำการศึกษาอิสระ (IS)
- ระดับปริญญาเอก หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิตทางสังคมศาสตร์ สาขาศึกษาศาสตร์ วิชาเอกเทคโนโลยีการศึกษา